การดูแลผู้ป่วยติดเตียง (Bedridden patient care)

1. ดูแลกิจวัตรประจำวัน
* เช็ดตัว อาบน้ำ เปลี่ยนเสื้อผ้า
* ป้อนอาหาร ป้อนยา
* ช่วยขับถ่าย ดูแลสายสวนปัสสาวะ/อุจจาระ (ถ้ามี)
* พลิกตะแคง เปลี่ยนท่าทุก 2 ชม. เพื่อป้องกันแผลกดทับ
* ป้อนอาหาร ป้อนยา
* ช่วยขับถ่าย ดูแลสายสวนปัสสาวะ/อุจจาระ (ถ้ามี)
* พลิกตะแคง เปลี่ยนท่าทุก 2 ชม. เพื่อป้องกันแผลกดทับ
2. ดูแลทางการแพทย์
* พยาบาลตรวจวัดสัญญาณชีพทุกวัน
* ดูแลบาดแผล แผลกดทับ ติดตามอาการโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน
* มีแพทย์ประจำ ตรวจติดตามเป็นรอบ (เช่น รายสัปดาห์)
* ดูแลบาดแผล แผลกดทับ ติดตามอาการโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน
* มีแพทย์ประจำ ตรวจติดตามเป็นรอบ (เช่น รายสัปดาห์)
3. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
* บริหารข้อต่อป้องกันข้อยึด ข้อติด
* กระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ และระบบไหลเวียนเลือด
* ฝึกหายใจ ป้องกันปอดแฟบหรือภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
* หากฟื้นตัวดี จะเริ่มฝึกนั่ง ยืน หัดเดิน
* กระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ และระบบไหลเวียนเลือด
* ฝึกหายใจ ป้องกันปอดแฟบหรือภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
* หากฟื้นตัวดี จะเริ่มฝึกนั่ง ยืน หัดเดิน
4. กิจกรรมบำบัด (Occupational Therapy)
* กระตุ้นสมอง ฝึกการตอบสนอง ฝึกความจำ
* ส่งเสริมการทำกิจกรรมเบา ๆ ที่ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ
* ฟื้นฟูทักษะที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การหยิบจับ การเคลื่อนไหวแขนขา
* ส่งเสริมการทำกิจกรรมเบา ๆ ที่ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ
* ฟื้นฟูทักษะที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การหยิบจับ การเคลื่อนไหวแขนขา
5. ดูแลด้านจิตใจและอารมณ์
* นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ให้คำปรึกษา
* จัดกิจกรรมกลุ่ม เช่น เล่นดนตรี ศิลปะ สวดมนต์ ดูหนัง ฟังเพลง
* ส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อไม่ให้รู้สึกโดดเดี่ยว
* จัดกิจกรรมกลุ่ม เช่น เล่นดนตรี ศิลปะ สวดมนต์ ดูหนัง ฟังเพลง
* ส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อไม่ให้รู้สึกโดดเดี่ยว
6. โภชนาการเฉพาะบุคคล
* นักโภชนาการวางแผนอาหารเฉพาะตามโรค เช่น เบาหวาน ไต หรือลดอาการท้องผูก
* อาหารปั่น อาหารอ่อน อาหารทางสายให้ออกแบบเฉพาะคน
* อาหารปั่น อาหารอ่อน อาหารทางสายให้ออกแบบเฉพาะคน
7. การประเมินและวางแผนฟื้นฟู
* ทีมแพทย์/พยาบาล/นักกายภาพประเมินอาการรายสัปดาห์
* วางแผนดูแลเฉพาะบุคคล เช่น ผู้ป่วยติดเตียงถาวร vs ผู้ป่วยที่ฟื้นตัวได้
* ติดตามพัฒนาการ และปรับแผนต่อเนื่อง
* วางแผนดูแลเฉพาะบุคคล เช่น ผู้ป่วยติดเตียงถาวร vs ผู้ป่วยที่ฟื้นตัวได้
* ติดตามพัฒนาการ และปรับแผนต่อเนื่อง
เป้าหมายของการดูแลในศูนย์
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น แผลกดทับ ปอดแฟบ กล้ามเนื้อลีบ
ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่า แม้จะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ฟื้นฟูสมรรถภาพ สำหรับผู้ป่วยที่อาจกลับมาเคลื่อนไหวบางส่วนได้
ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่า แม้จะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ฟื้นฟูสมรรถภาพ สำหรับผู้ป่วยที่อาจกลับมาเคลื่อนไหวบางส่วนได้
Tags